3 หน่วยงานด้านน้ำเตรียมพร้อมรั บมือภัยแล้ง
ประกาศชัด อีสท์เทิร์น ซีบอร์ด ไม่ขาดน้ำ
อีสท์ วอเตอร์ โชว์ระบบบริหารจัดการน้ำภาคตะวั นออกด้วยระบบ SCADA พร้อมแถลงความพร้อมรับมือภัยแล้ ง ร่วมกับโครงการชลประทานระยอง และการนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย สร้างความมั่นใจให้ผู้ ประกอบการในนิคมอุ ตสาหกรรมมาบตาพุด พร้อมลงพื้นที่สำรวจปริมาณน้ ำในอ่างเก็บน้ำหลัก และโครงการก่อสร้าง มั่นใจ อีสท์เทิร์น ซีบอร์ด พ้นวิกฤติแล้งแน่นอน
จากสถานการณ์วิกฤตภัยแล้งที่ กำลังเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ทั่ วประเทศ ส่งผลให้หลายภาคส่วนเริ่มเป็นกั งวลถึงสถานการณ์น้ำในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลตะวันออก อันเป็นที่ตั้งของเขตอุ ตสาหกรรมหลักของประเทศ หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเรื่ องน้ำในภูมิภาคแห่งนี้ อย่าง กรมชลประทาน และ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ร่วมกับการนิคมอุ ตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ชี้แจงความพร้อมในการรับมือภั ยแล้งครั้งนี้ โดยเปิดเผยแผนการบริหารจัดการน้ ำในช่วงหน้าแล้งและมาตรการป้ องกันปัญหากรณีเกิดวิกฤตภัยแล้ งขึ้นอย่างบูรณาการ เพื่อสร้างความชัดเจนและมั่ นใจให้กับผู้ประกอบการ
นายโสกุล เชื้อภักดี ผู้อำนวยการฝ่ายวิศวกรรม บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ เปิดเผยว่า “จากสถานการน์น้ำขณะนี้จะเห็นว่ า โดยรวมพื้นที่ภาคตะวันออกยังไม่ น่าเป็นห่วง ยกเว้นในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และฉะเชิงเทราที่ยังคงต้องเฝ้ าระวังอย่างใกล้ชิด ซึ่งเรามีแผนสำรองเพื่อป้องกั นภัยแล้งไว้แล้ว โดยจะผันน้ำจากอ่างเก็บน้ ำประแสร์มายังอ่างเก็บน้ ำคลองใหญ่ ปริมาณ 87 ล้าน ลบ.ม. เพื่อส่งจ่ายไปยังผู้ใช้น้ ำภาคอุตสาหกรรมและอุปโภคบริ โภคในพื้นที่จังหวั ดระยองและชลบุรี รวมถึงการเร่งรัดโครงการวางท่ อส่งน้ำดิบหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจ่ายน้ ำจากอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลให้กั บผู้ใช้น้ำในพื้นที่ปลวกแดง-บ่ อวิน ให้สามารถพร้อมส่งจ่ายน้ำได้ ภายในต้นเดือนพฤษภาคม 2559
ส่วนพื้นที่ฉะเชิงเทรา มีปริมาณความต้องการใช้น้ำในช่ วงฤดูแล้งประมาณ 7 ล้าน ลบ.ม. จากการเกิดภัยแล้งในพื้นที่ลุ่ มน้ำเจ้าพระยาป่าสัก ทำให้ อีสท์ วอเตอร์ ต้องช่วยส่งน้ำไปให้กับพื้นที่ ดังกล่าวเพิ่มเติมเป็นพิเศษ อย่างไรก็ตามเราได้เตรี ยมแผนการจัดหาแหล่งน้ ำสำรองจากบ่อดินเอกชนเพิ่มเติ มเพื่อเตรียมรองรับไว้แล้ว 2.5 ล้าน ลบ.ม. และคาดว่าจะหาเพิ่มได้อีก 4.5 ล้าน ลบ.ม. จะช่วยให้พื้นที่ฉะเชิงเทรามี แหล่งน้ำสำรองในฤดูแล้งอย่างเพี ยงพอ จากความร่วมมือร่วมใจของทุกหน่ วยงานจะช่วยแก้ไขปัญหาและมั่ นใจว่าจะผ่านแล้งนี้ไปได้เหมื อนทุกครั้ง”
ด้านนายประสานต์ พฤกษาชาติ ผู้ อำนวยการโครงการชลประทานระยอง กรมชลประทานเปิดเผยถึงสถานการณ์ น้ำอ่างเก็บน้ำหลักว่า “ปริมาณน้ำยังมีเพียงพอต่อการอุ ปโภคบริโภค และใช้งานในภาคอุตสาหกรรมตลอดช่ วงฤดูแล้งนี้ โดยอ่างเก็บน้ำหลักในพื้นที่จั งหวัดระยอง ซึ่งประกอบด้วย อ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล ดอกกราย คลองใหญ่ มีปริมาณน้ำรวมอยู่ที่ 192.8 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 66.8%มากกว่าในช่วงเดียวกันของปีก่อน 30.4% และอ่างเก็บน้ำประแสร์ มีปริมาณน้ำรวมอยู่ที่ 195.0 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 66% ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี สำหรับอ่างเก็บน้ำบางพระ และอ่างเก็บน้ำหนองค้อ ในพื้นที่ชลบุรี มีปริมาณน้ำรวมอยู่ที่ 37.18 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 26.9% ต่ำกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน 32.27%”
ด้าน นายวิฑูรย์ อยู่ทิม รองผู้ว่าการ สายงานปฏิบัติการ 3 การนิคมอุตสากรรมแห่ งประประเทศไทย เสริมว่า “กนอ. มีแผนการรับมือปัญหาภัยแล้งที่ จะเกิดขึ้นในปี 2559 โดยมีการสั่งให้จัดทำแผนบริ หารจัดการภัยแล้งในพื้นที่นิ คมอุตสาหกรรมทุกแห่งทั่วประเทศ โดยจะมีการเฝ้าระวังติ ดตามสานการณ์น้ำอย่างต่อเนื่อง โดยประสานกับกรมชลประทาน และกรมอุตุนิยมวิทยา เพื่อรับมือกับปัญหาได้อย่างทั นท่วงที และมีการทำงานร่วมกับผู้พัฒนานิ คมอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิด รวมทั้งมีการแจ้งผู้ ประกอบการเป็นระยะเพื่อเตรี ยมความพร้อมตลอดเวลา”
นอกจากความร่วมมือดังกล่าวข้ างต้นแล้ว อีสท์ วอเตอร์ ยังให้ความสำคัญกับการป้องกั นและแก้ไขปัญหาภัยแล้งอย่างต่ อเนื่อง ตั้งแต่การนำเทคโนโลยี SCADA มาใช้ควบคุมระบบสูบส่งน้ำของอี สท์ วอเตอร์ ช่วยให้ลดปริมาณน้ำสูญเสียในเส้ นท่อได้เหลือน้อยกว่า 3% เป็นการใช้น้ำอย่างเต็มประสิ ทธิภาพ รวมถึงได้นำเสนอแนวคิดการบริ หารจัดการน้ำที่เน้นการใช้น้ำทุ กหยดอย่างคุ้มค่าและเป็นมิตรกั บสิ่งแวดล้อม ในโครงการ Water Complex ซึ่งเป็นการวางระบบน้ ำแบบครบวงจรให้เหมาะกับการใช้ งานของแต่ละอุ ตสาหกรรมและสามารถนำน้ำทิ้งกลั บมาใช้ใหม่ ซึ่งระบบนี้ยังสามารถนำมาใช้กั บภาคครัวเรือนได้ด้วยการวางระบบ น้ำ Reclaimed หรือระบบน้ำแบบ 2 เส้นท่อ แยกท่อน้ำดีกับท่อน้ำเสี ยออกจากกัน เพื่อนำน้ำที่ใช้แล้วมาผ่ านระบบบำบัดขนาดเล็ กและกระบวนการรีไซเคิลเพื่อนำน้ ำทิ้งกลับมาใช้ใหม่ในระบบฟลัดชิ ่งและรดน้ำต้นไม้ ซึ่งโครงการดังกล่ าวจะสามารถตอบโจทย์รั ฐบาลในการแก้ปัญหาภัยแล้งได้อย่ างยั่งยืน
_______________________
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อ :
0 Comments:
แสดงความคิดเห็น